วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2556

นางสาว วิภาพร บุญเพ็ง บช 1/3

บทที่ 6
 
ตอนที่1
 
1. อินเตอร์เน็ตใช้โปรโตคอลใดเป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อเชื่อมเครือข่ายเข้าด้วยกันตอบ TCP/IP คือโปรโตคอลบนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ที่ใช้ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
IP Address คือ หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP ซึ่งไม่ซ้ำกันทั่วโลก



2. อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายของเครือข่ายเดิมมีชื่อว่าอะไร
ตอบ อาร์พาเน็ต



5. โปรโตคอลคืออะไรตอบ โปรโตคอล คือ ข้อกำหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น ภาษากลางในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น จำเป็นจะต้องมีการสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับคนเราที่ต้องมีภาษาพูดเพื่อให้สื่อสารเข้าใจกันได้
โปรโตคอลช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์สองระบบ ที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ คือข้อตกลงที่กำหนดเกี่ยว กับการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโปรโตคอลมีความสำคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่าย หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ตัวอย่างของโปรโตคอล
1) โปรโตคอล
HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser)
2) โปรโตคอล
TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocolคือเครือข่ายโปรโตคอลที่สำคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็นโปรโตคอลที่ใช้ในระบบเครือข่าย Internet รวมทั้งIntranet ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP
3) โปรโตคอล
SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
นอกจากโปรโตคอลที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีโปรโตคอลต่างๆอีกมากมาย เช่น การโอนย้ายแฟ้มระหว่างกัน ใช้โปรโตคอลชื่อ
FTP หรือ File Transfer Protocol การโอนย้ายข่าวสารระหว่างกันก็ใช้โปรโตคอลชื่อ NNP หรือ Network News Transfer Protocol และยังมีโปรโตคอลที่สำคัญสำหรับการสอบถามข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่มีประโยชน์มาก โปรโตคอลนี้มีชื่อว่า ICMP หรือ Internet Control Message Protocol เป็นต้น



7. ระบบชื่อโดเมนคืออะไร
ตอบ
ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System) หรือ ดีเอ็นเอส (DNS) เป็นระบบการตั้งชื่อให้กับ "ทรัพยากรเครือข่ายแต่ที่พบโดยทั่วไปคือการตั้งชื่อโฮสต์เพื่อใช้แทนไอพีแอดเดรส ดีเอ็นเอสเป็นระบบชื่อที่มีฐานข้อมูลแบบกระจาย โดยไม่มีหน่วยงานหรือสถาบันใดควบคุมหรือมีฐานข้อมูลเดี่ยวครอบคลุมทั้งอินเทอร์เน็ต แต่ละเครือข่ายในอินเทอร์เน็ตจะมีดีเอ็นเอสเซอร์ฟเวอร์เก็บรักษาฐานข้อมูลและบริหารข้อมูลอย่างอิสระ เพื่อให้ไคลเอ็นต์ขอบริการสอบถามข้อมูลตามแบบโปรโตคอลที่กำหนด ดีเอ็นเอสจึงเป็นทั้งระบบการตั้งชื่อและโปรโตคอลรวมอยู่ด้วยกัน
เมื่อใช้ชื่อแทนไอพีแอดเดรสสำหรับเรียกใช้บริการหนึ่งๆ โปรแกรมประยุกต์ที่เกี่ยวข้องกับบริการนั้นจะใช้กลไกของระบบเพื่อแปลงชื่อไปเป็นไอพีแอดเดรส และนำไอพีแอดเดรสนั้นติดต่อไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางต่อไป





ตอนที่ 3



1. HTMLตอบ ข้อมูลที่เป็นข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง



2. SLIP/PPPตอบ การต่อต้านโปรโตคอล



3. IP Address
ตอบ หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรโตคอล TCP/ IP ซึ่งจะไม่ซ้ำกันทั่วโลก



4. TCP/IPตอบ โปรโตคอลระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ดีใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต



5. Encryption
ตอบ การป้อนข้อมูลเป็นรหัสลับที่ไม่สามารถอ่านได้



6. PGPตอบ โปรแกรมจำรหัส



7. Teleconferencing System
ตอบ ระบบจัดการประชุมทางไกล



8. Virual Univesity
ตอบ ระบบมหาวิทยาลัยเสมือน



9. Web Page
ตอบ แต่ละหน้าของเว็บ



10. Home Page
ตอบ หน้าแรกของเว็บ





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น