วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2555

นางสาว วิภาพร บุญเพ็ง บช 1/3

บทที่4 
 
 
การวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน

2.อธิบายความหมายของ "การวิเคราะห์ระบบ"

ตอบ การวิเคราะห์ระบบ คือ ขั้นตอนค้นหาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบที่จะพัฒนา ค้นหาปัญหาจากระบบงาน และวิเคราะที่เกิดขึ้น เพื่อหาแนวทาง พัฒนาปรับปรุง ระบบงานให้ดีขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล จากงานเดิมให้ดีขึ้นได้อย่างไร นอกจากนั้นการวิเคราะห์ยังต้องทำการศึกษาความต้องการของระบบงานใหม่ที่จะได้รับจากการพัฒนาในอนาคต ต้องการให้ระบบงานใหม่ในภาพรวมทำงานอะไรได้บ้าง
ประเด็นสำคัญของการวิเคราะห์ระบบ คือ หาปัญหา เสนอแนวทางปรับปรุง หรือแนวทางการแก้ปัญหาบอกทิศทางการพัฒนาระบบงานใหม่ว่าควรพัฒนาแล้วระบบงานใหม่อะไรบ้าง

3. วงจรพัฒนาระบบมีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง

ตอบ วงจรพัฒนาระบบมี 5 ขั้นตอน

1. ขั้นเตรียมการ สำรวจ กำหนดปัญหา

2. การวิเคราะห์ ทำความเข้าใจกับระบบเดิม

3. การออกแบบ การวางแผนออกแบบระบบใหม่

4. การพัฒนา การทำงานเพื่อให้ได้ระบบงานใหม่ตามที่ออกแบบ

5. การนำไปใช้ การเปลี่ยนไปใช้ระบบใหม่

4. การปรับปรุงระบบงานจะเกิดขึ้นได้ต้องมีการวิเคราะห์ระบบงานก่อน ดังนั้นในขั้นแรกของการการวิเคราห์และออกแบบระบบงานต้องทำอย่างไรบ้าง

ตอบ การค้นหาปัญหาของระบบเดิมที่ใช้อยู่ การที่นักวิเคราะห์ระบบจะทราบได้ว่าองค์กรที่จะทำการวิเคราะห์ระบบนั้น ๆ มีปัญหาหรือไม่ จะต้องทำการแยกแยะระหว่างปัญหาที่เกิดขึ้นจริงกับปัญหาที่เกิดขึ้นจากการตั้งข้อสังเกตของบุคลากรในองค์กรว่าเป็นปัญหา นักวิเคราะห์ระบบจะต้องฉลาดพอที่จะวินิจฉัยข้อแตกต่างระหว่าง 2 ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ และเข้าใจถึงปัญหาที่แท้จริงกับผลของปัญหา เช่น การไม่มีสถานที่เพียงพอสำหรับพนักงานในสำนักงาน ปัญหาที่เกิดขึ้นดูเหมือนว่าจะเป็นเรื่องการไม่มีพื้นที่เพียงพอสำหรับพนักงาน แต่ที่จริงแล้วปัญหาที่เกิดขึ้นคือการจัดระบบการวางสิ่งของยังไม่ดีพอการไม่มีที่เพียงพอเป็นเพียงอาการของปัญหาเท่านั้น นักวิเคราะห์ระบบต้องทำความเข้าใจในเรื่องเหล่านี้
โดยปกติแล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะรับทราบปัญหาไว้จากหลาย ๆ แหล่ง ในที่นี้จะแจกแจงออกเป็นรายงานปัญหาที่มาจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อหาแนวทาง พัฒนาปรับปรุง ระบบงานให้ดีขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล จากงานเดิมให้ดีขึ้นได้อย่างไร นอก
7. แผนกระแสข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
        ตอบ1.แผนภาพกระแสข้อมูล ใช้งานได้อิสระโดยไม่จำเป็น ต้องใช้เทคนิคอื่น ๆ เข้ามาช่วย เนื่องจากมีสัญลักษณ์ที่ แทนสิ่งต่าง ๆ ที่วิเคราะห์ระบบ
2.การใช้แผนภาพกระแสข้อมูล ใช้งานได้ง่าย สามารถมองเห็นระบบใหญ่ และ ระบบย่อยที่มีความสัมพันธ์กันอยู่ได้อย่างชัดเจน
3.เป็นเครื่องมือในการสื่อสารระหว่างทีมงานที่พัฒนาระบบ และผู้ใช้งานระบบได้เป็นอย่างดี
4.แผนภาพกระแสข้อมูล ทำให้ขั้นตอนการทำงาน และข้อมูลต่าง ๆ เป็นแผนภาพการไหลของข้อมูลระหว่างโพรเซสได้
10. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบเพื่อกำหนดระยะเวลาในการทำงานคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร     ตอบ การที่จะหาว่าโครงการแต่ละโครงการควรจะแล้วเสร็จเมื่อใด สิ่งที่จะต้องทำในขั้นตอนแรกก็คือการจัดทำตารางเวลา(TimeTable)ของทุกๆกิจกรรม(Activity)ที่สร้างขึ้นเป็นงานหรือกล่าวได้ว่าต้องมีการจัดเตรียมแผนสำหรับการทำงานนั้น คือ ผังงานแกนท์ (Gantt Chart) แผนภูมิแกนต์ มีประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมติดตามการผลิตหรือการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้การผลิตนั้นจะมีกระบวนการซ้ำ ๆ หรือมีการพัฒนา สามารถบอกได้ว่างานหรือกิจกรรมใดทำในช่วงเวลาใด, ระยะเวลาเร็วที่สุดที่โครงการดังกล่าวจะเสร็จสิ้นเมื่อใด ใช้ในการบันทึกและดูความกว้าหน้าของงาน วิเคราะห์ความกว้าหน้าของงาน และปรับเปลี่ยนการวางแผนได้ง่าย จึงเป็นที่นิยมรู้จักกันแพร่หลาย แต่ยังไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน ทำง่าย เข้าใจง่าย ไม่มีการคำนวณที่ซับซ้อน ยุ่งยาก และไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการทำ

ตอนที่ 3 อธิบายสัญลักษณ์ในการเขียนผังงานต่อไปนี้



1. จุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง



 

2. จุดที่จะนำข้อมูลเข้าจากภายนอก หรือออกสู่ภายนอก โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์
 






3. จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดการทำงาน



4. แสดงผลทางจอภาพ




5. แสดงผลทางเครื่องพิมพ์





6. จุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง





7. โปรแกรมย่อย หรือโมดูล เริ่มทำงานหลังจากจบคำสั่งในโปรแกรมย่อยแล้ว จะกลับมาทำคำสั่งต่อไป



 

8. การเตรียมทำงานลำดับต่อไป





9. จุดเชื่อมต่อของผังงานใช้สัญลักษณ์นี้เพื่อให้ดูง่าย



 






10.จุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละหน้ากระดาษ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น